ขอแนะนำ 5 อันดับ ผลงานวิจัยที่มีการอ้างถึงสูงสุด
ของ รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณทิชา เศวตบวร คณะอุตสาหกรรมเกษตร จากฐานข้อมูล SCOPUS
.
Impact of protectants on the storage stability of freeze-dried probiotic Lactobacillus plantarum
https://bit.ly/3fgq8qV
Survival and shelf life of Lactobacillus lactis 1464 in shrimp feed pellet after fluidized bed drying
https://bit.ly/3xHPwMo
Impact of inulin on viability and storage stability of probiotic Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in fermented rice extract
https://bit.ly/3BH46F4
Role of protective agents on the viability of probiotic Lactobacillus plantarum during freeze drying and subsequent storage
https://bit.ly/3C2JQz3
Characteristics of Collagen from Rohu (Labeo rohita) Skin
https://bit.ly/3DMouHu
|
รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณทิชา เศวตบวร (นามสกุลเดิม: ลาภศิริ)
Associate professor Dr. Wanticha Savedboworn (Maiden: Lapsiri) E-mail: wanticha.s@agro.kmutnb.ac.th, wanticha@yahoo.com Tel. +66-37217300-9 ext. 7916 / +66-81-5476363 Fax. +66-37217312 Department of Agro-Industry Technology and Management Faculty of Agro-Industry King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. |
Education |
· Ph.D. (Biotechnology) Kasetsart University, Thailand (2012)
· M.Sc. (Biotechnology) Kasetsart University, Thailand (2002) · B.Sc. (Biotechnology) Burapha University, Thailand (1999) |
Research Areas |
– Encapsulation of probiotic
– Food Microbiology – Spray drying and Freeze drying of probiotics in foods and feeds – Antimicrobial activity and antioxidant of Thai herbs – Product recovery |
Teaching Courses |
050113128 Principles of Food Microbiology
050113129 Principles of Food Microbiology Laboratory 050113134 Principles of Sanitation in Food Industry 050113222 Production Technology of Probiotic and Application in Food-industry 050123108 Principles of Sanitation and Food Safety 050123127 Bioactive compounds and foods for health 050115220 Food Biotechnology 050115218 Advanced Fermentation Technology |
Current Researches |
โครงการวิจัย เรื่อง “การผลิตสารสกัดธัญพืชผสมซินไบโอติก” แหล่งทุน:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2558. (หัวหน้าโครงการ) โครงการวิจัย เรื่อง “การผลิตแก๊สไฮโดรเจนจากน้ำทิ้งโรงงานผลิตแป้งข้าวโดยแบคทีเรียสังเคราะห์แสงในระบบการให้แสงแบบปิด” แหล่งทุน:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2558. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัย เรื่อง “การคัดแยกโพรไบโอติกแลคติกแอซิดแบคทีเรียจากผักดองเพื่อใช้เป็นกล้าเชื้อ” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนนักวิจัยทั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2556 จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (หัวหน้าโครงการ) โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาสภาวะในการไฮโดรไลซิสที่เหมาะสมในการเปลี่ยนรูปทางเคมีของไอโซฟลาโวนในเจิร์มถั่วเหลืองโดยการออกแบบการทดลองแบบ CCD” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนนักวิจัยทั่วไป ประจำปีงบประมาณ 2556 จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัย เรื่อง “การผลิตเครื่องดื่มธัญชาติผสมโปรไบโอติก” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2556. จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (หัวหน้าโครงการ) โครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไวน์ข้าวสีทองด้วยแกลบผสมไม้โอ๊ค” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2556. จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการจัดการความรู้จากงานวิจัยและสร้างแผนยุทธศาสตร์เพื่อการจัดการคุณภาพน้ำอย่างยั่งยืน ลุ่มน้ำปราจีนบุรี : กรณีศึกษาลุ่มน้ำคลองสารภี. โครงการวิจัยย่อย การตรวจสอบคุณภาพน้ำในลุ่ม น้ำปราจีนบุรี. แหล่งทุน: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2556. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัย เรื่อง “การแยกเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติกจากตัวอย่างหน่อไม้เปรี้ยวเพื่อใช้เป็นกล้าเชื้อ” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2549. (หัวหน้าโครงการ) โครงการวิจัย เรื่อง “การศึกษาปัจจัยการผลิตที่มีผลต่อคุณภาพหน่อไม้ไผ่ตงอบแห้ง” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2549. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัย เรื่อง “การสำรวจความคิดเห็นและพฤติกรรมของผู้บริโภคในจังหวัดปราจีนบุรีต่อกระยาสารท” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2548. (หัวหน้าโครงการ) โครงการวิจัย เรื่อง “พฤติกรรมผู้บริโภคผลิตภัณฑ์น้ำพริกในจังหวัดปราจีนบุรี” ” แหล่งทุน: ทุนสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2548. (ผู้ร่วมวิจัย) หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การผลิตซินไบโอติกผงผสมสารสกัดข้าว. ภายใต้ชุดโครงการวิจัย เรื่อง โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากข้าว. ทุน ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ 2564. ตุลาคม 2563-กันยายน 2564. ผู้ร่วมวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพชนิดผงชงดื่มจากข้าวหักไรซ์เบอรี่. ภายใต้ชุดโครงการวิจัย เรื่อง โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากข้าว. ทุน ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ 2564. ตุลาคม 2563-กันยายน 2564. ผู้ร่วมวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อไก่เทียมจากโปรตีนพืชในผลิตภัณฑ์แกงเขียวหวานบรรจุถุง Pouch. แหล่งทุนวิจัย อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มีนาคม 2564-ตุลาคม 2564. หัวหน้าโครงการวิจัย พุดดิ้งข้าวไรซ์เบอรี่ที่ผ่านกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งเสริมโปรไบโอติกที่ถูกห่อหุ้ม. ทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประจำปีงบประมาณ 2563. ผู้ร่วมวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำหยวกกล้วย (น้ำว้า) เพื่อสุขภาพ. ทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประจำปีงบประมาณ 2563. ผู้ร่วมวิจัย การผลิตสมูทตี้ผงจากอิตาเลียนเคลชนิดโปรไบโอ-ติกสูง. ทุนสนับสนุนชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร (Innovative house)” ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหว่างเดือนเมษายน 2562 ถึง มกราคม 2563. ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง โครงการพัฒนาศักยภาพและยกระดับมาตรฐานการผลิต สินค้า OTOP เกษตรแปรรูปสู่สากล. โครงการย่อย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรวัดสุวรรณ จังหวัดชลบุรี. แหล่งทุน กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมกับ ศูนย์นวัตกรรม อาหารและบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ปีงบประมาณ 2560. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งโปรไบโอติกและการประยุกต์ใช้ในอาหาร ใน โครงการวิจัยชุด เรื่อง การพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากข้าวและผลพลอยได้จากข้าว. แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ปีงบประมาณ 2560. ผู้ร่วมวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มฟังก์ชันนัลเสริมโปรตีนสกัดเข้มข้นจากรำข้าว(พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105) ใน โครงการวิจัยชุด เรื่อง การพัฒนาและการใช้ประโยชน์จากข้าวและผลพลอยได้จากข้าว. แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ปีงบประมาณ 2560. ผู้ร่วมวิจัย ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง การปรับปรุงคุณภาพ และการศึกษาไอโซเทอมของการดูดซับความชื้นของผลิตภัณฑ์กระท้อนหยีที่ทดแทนด้วยสารฮิวแมค แตนท์. ทุนนักวิจัยใหม่ (วท.) ประจำปี 2558. แหล่งทุนสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (ระหว่าง พฤศจิกายน 2558-ตุลาคม 2559) โครงการวิจัยเรื่อง ผลของเวลาในการงอกที่มีต่อปริมาณฟีนอลิก ปริมาณไอโซฟลาโวนส์ และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของถั่วเหลืองพันธ์ุเชียงใหม่ 60. ทุนพัฒนาองค์ความรู้พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ตุลาคม 2565-กันยายน 2566. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัยเรื่อง ผลของอัตราส่วนพื้นที่รับแสงต่อปริมาตร วิธีการให้แสง และการประยุกต์ใช้น้ำทิ้งโรงงานผลิตผงชูรสและโรงงานผลิตวุ้นมะพร้าวสำหรับการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยเชื้อ Rhodopseudomonas palustris TN1. ทุนพัฒนาองค์ความรู้พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ตุลาคม 2565-กันยายน 2566. (ผู้ร่วมวิจัย) โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณ์เนื้อไก่เทียมจากโปรตีนพืชในผลิตภัณฑ์แกงเขียวหวานบรรจุถุง Pouch. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เมษายน 2564- เมษายน 2565. (ผู้ร่วมวิจัย) รัชนี เจริญ, วรรณทิชา เศวตบวร และศรีเวียง ฤทธิศักดิ์. ผู้ร่วมวิจัยโครงการ การพัฒนากระบวนการผลิตฟองเต้าหู้หุ้มสาหร่ายทอดกรอบ. สำนักงานพัฒนาการวิจัยเกษตร (สวก.) ประจำปีงบประมาณ 2566. 28 เมษายน 2566 – 27 เมษายน 2567. ศรีเวียง ฤทธิศักดิ์, รัชนี เจริญ, วรรณทิชา เศวตบวร, และวิบูลย์ เหรียญสง่าวงศ์. ผู้ร่วมวิจัยโครงการ ผลของเวลาในการงอกที่มีต่อปริมาณฟีนอลิก ปริมาณไอโซฟลาโวนส์ และกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระของถั่วเหลืองพันธ์ุเชียงใหม่ 60. ทุนพัฒนาองค์ความรู้พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ตุลาคม 2565-กันยายน 2566. วิบูลย์ เหรียญสง่าวงศ์, ศรีเวียง ฤทธิศักดิ์ และวรรณทิชา เศวตบวร. ผู้ร่วมวิจัยโครงการ ผลของอัตราส่วนพื้นที่รับแสงต่อปริมาตร วิธีการให้แสง และการประยุกต์ใช้น้ำทิ้งโรงงานผลิตผงชูรสและโรงงานผลิตวุ้นมะพร้าวสำหรับการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยเชื้อ Rhodopseudomonas palustris TN1. ทุนพัฒนาองค์ความรู้พื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ตุลาคม 2565-กันยายน 2566. สุธี วังเดือย, รัชนี เจริญ และวรรณทิชา เศวตบวร. ผู้ร่วมวิจัยโครงการ การพัฒนาผลิตภัณ์เนื้อไก่เทียมจากโปรตีนพืชในผลิตภัณฑ์แกงเขียวหวานบรรจุถุง Pouch. อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เมษายน 2564- เมษายน 2565. วรรณทิชา เศวตบวร และศรีเวียง ฤทธิศักดิ์. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การผลิตซินไบโอติกผงผสมสารสกัดข้าว. ภายใต้ชุดโครงการวิจัย เรื่อง โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากข้าว. ทุน ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ 2564. ตุลาคม 2563-กันยายน 2564. ศรีเวียง ฤทธิศักดิ์ และวรรณทิชา เศวตบวร. ผู้ร่วมวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพชนิดผงชงดื่มจากข้าวหักไรซ์เบอรี่. ภายใต้ชุดโครงการวิจัย เรื่อง โครงการการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากข้าว. ทุน ววน. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ 2564. ตุลาคม 2563-กันยายน 2564. รัชนี เจริญ และวรรณทิชา เศวตบวร. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เนื้อไก่เทียมจากโปรตีนพืชในผลิตภัณฑ์แกงเขียวหวานบรรจุถุง Pouch. แหล่งทุนวิจัย อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. มีนาคม 2564-ตุลาคม 2564. วรรณทิชา เศวตบวร และศรีเวียง ทิพกานนท์. พุดดิ้งข้าวไรซ์เบอรี่ที่ผ่านกระบวนการทำแห้งแบบแช่เยือกแข็งเสริมโปรไบโอติกที่ถูกห่อหุ้ม. ทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประจำปีงบประมาณ 2563. ศรีเวียง ทิพกานนท์ และวรรณทิชา เศวตบวร. การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำหยวกกล้วย (น้ำว้า) เพื่อสุขภาพ. ทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประจำปีงบประมาณ 2563. รัชนี เจริญ วรรณทิชา เศวตบวร และปราณี สร้อยประไพ. การผลิตสมูทตี้ผงจากอิตาเลียนเคลชนิดโปรไบโอ-ติกสูง. ทุนสนับสนุนชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหาร (Innovative house)” ฝ่ายอุตสาหกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหว่างเดือนเมษายน 2562 ถึง มกราคม 2563. |
Publications |
วารสารตีพิมพ์ระดับนานาชาติ
Phithak Phanuthat, Natchapan Thanokittisaed, Wanticha Savedboworn, Sriwiang Rittisak, Atipan Siammai, Paweena Dikit and Wiboon Riansa-ngawong. 2022. Possibility of hydrogen production from Glutamate-Acetate medium by Rhodopseudomonas palustris TN1 under a Closed-Light system combined with the solar light energy systems. Chiang Mai Journal of Science. 49: 299-311. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Sriwiang Rittisak, Ratchanee Charoen and Wanticha Savedboworn. 2022. Broken riceberry (BR) powder production using a double drum dryer and its utilization in development of instant beverages. Processess. 10: 341. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Patchanok Apiwattanasiri, Ratchanee Charoen, Sriwiang Rittisak, Kriangkrai Phattayakorn, Sakwiboon Jantrasee and Wanticha Savedboworn. 2022. Co-encapsulation efficiency of silk sericin-alginate-prebiotic and the effectiveness of silk sericin coating layer on the survival of probiotic Lactobacillus casei. 46: 101576. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Corresponding author) Sriwiang Rittisak, Ratchanee Charoen, Natthaya Choosuk, Wanticha Savedboworn and Wiboon Riansa-ngawong. 2022. Response surface optimization for antioxidant extraction and attributes liking from roaster rice germ flavored herbal tea. Processess. 10: 125. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Sokvibol Chuob, Arunya Prommakool, Chuleeporn Chumnanka, Chintana Tayuan, Arpassorn Sirijariyawat, Kriangkrai Phattayakorn and Wanticha Savedboworn. 2022. Antibiotic resistance of lactic acid bacteria isolated from Cambodian fish paste product. Applied Science and Engineering Progress. 15(4): 5581. (ฐานข้อมูล SCOPUS / Coauthor) Wanticha Savedboworn, Chalathan Noisumdang, Chananya Arunyakanon, Phatcharaphorn Kongcharoen, Chanthima Phungamngoen, Sriwiang Rittisak, Ratchanee Charoen, Kriangkrai Phattayakorn. 2020. Potential of protein-prebiotic as protective matrices on the storage stability of vacuum-dried probiotic Lactobacillus casei. LWT – Food Science and Technology. 131: 109578. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author และ Corresponding author) Sriwiang Tipkanon, Ratchanee Charoen, Ratchagon Pongsri, Pattraporn Tearyakul, Wanticha Savedboworn and Wiboon Riansa-ngawong. 2019. Optimization of herbal health tea flavored with roasted rice germ (Khao Dawk Mali 105) using response surface methodology. Malaysian Journal of Analytical Science. 23(3): 495-504. (ฐานข้อมูล SCOPUS / Coauthor) Wanticha Savedboworn, Kotchkorn Teawsomboonkit, Supanida Surichay, Wiboon Riansa-ngawong, Sriwiang Tipkanon, Ratchanee Charoen and Kriangkrai Phattayakorn. 2019. Impact of protectants on the storage stability of freeze-dried probiotic Lactobacillus plantarum. Food Science and Biotechnology. 28(3): 795-805. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author และ Corresponding author)
(ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Charoen, R, Tipkanon, S., Savedboworn W, Phonsatta N and Panya A. 2018. Functionality and Application of Rice Bran Protein Hydrolysates in Oil in Water Emulsion: Their Stabilities to Environmental Stresses. International Journal of Nutrition and Food Engineering. 12(8): 240-246. Pornnipa Botthong, Tanatorn Pornsawatchai, Wanticha Savedboworn, Sriwiang Tipkanon, Atipan Siammai and Wiboon Riansa-ngawong. 2018. Optimization and performance of covered-light structure for hydrogen production by Rhodopseudomonas palustris TN1. Chiang Mai Journal of Science. 45: 2597-2608. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Sriwiang Tipkanon, Ratchanee Charoen, Wanticha Savedboworn and Wiboon Riansa-ngawong. 2018. Creating product concept of rice germ beverage for elderly people in Prachinburi using conjoint analysis. Kasetsart Journal of Social Sciences. 39(1): 674-683. (ฐานข้อมูล SCOPUS / Coauthor) Charoen, R., Tipkanon, S. and Savedboworn, W. 2018. Sorption isotherm study of preserved wild mangosteen (kra-thon yhee) with replacing humectants. International Food Research Journal. 25(3): 1258-1265 (June 2018). (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Wanticha Savedboworn, Sureeporn Niyomrat, Janyawan Naknovn and Kriangkrai Phattayakorn. 2017. Impact of inulin on viability and storage stability of probiotic Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in fermented rice extract. Agriculture and Natural Resources. 51: 463-469. (ฐานข้อมูล SCOPUS / First author) Charoen, R., Tipkanon, S. and Savedboworn, W. 2017. Production of rice bran protein hydrolysates from traditional Thai rice bran (Plai-Ngahm-Prachinburi). International Food Research Journal. 24(6): 2304-2311 (December 2017). (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Wanticha Savedboworn, Phanat Kittiphattanabawon, Soottawat Benjakul, Sittichoke Sinthusamran and Hideki Kishimura. 2017. Characteristics of collagen from rohu (Labeo rohita) skin. Journal of Aquatic Food Product Technology. 26:3, 248-257. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author) Savedboworn, W., Kerdwan, N., Sakorn, A., Charoen, R., Tipkanon, S. and Pattayakorn, K. 2017. Role of protective agents on the viability of probiotic Lactobacillus plantarum during freeze drying and subsequent storage. International Food Research Journal. 24(2): 787-794 (April 2017). (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author) Maneerat Wirunpan, Wanticha Savedboworn, Penkhae Wanchaitanawong. 2016. Survival and shelf life of Lactobacillus lactis 1464 in shrimp feed pellet after fluidized bed drying. Agriculture and Natural Resources. 50: 1-7. (ฐานข้อมูล SCOPUS / Coauthor) Phattayakorn, K., Pajanyor, P., Wongtecha, S., Prommakool, A. and Savedboworn, W. 2016. Effect of germination on total phenolic content and antioxidant properties of Hang rice. International Food Research Journal. 23(1): 406-409. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / Coauthor) Wanticha Savedboworn and Penkhae Wanchaitanawong. 2015. Viability and probiotic properties of Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in spray-dried fermented cereal extracts. Maejo International Journal of Science and Technology. 9(03): 382-393. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author) Wiboon Riansa-ngawong, Wanticha Savedboworn and Maneewan Suwansaard. 2015. Optimization of Hydrogen Production from Pickle Bamboo Shoot Wastewater by Rhodopseudomonas palustris TN1. KMUTNB: International Journal of Applied Science and Technology. Vol. 8 (3):205-212. DOI:10.14416/j.ijast.2015.06.004. (ฐานข้อมูล TCI1 / Coauthor) Ratchanee Charoen, Wanticha Savedboworn, Samart Phuditcharnchnakun, Thanakit Khuntaweetap. Development of Antioxidant Gummy Jelly Candy Supplemented with Psidium guajava Leaf Extract. KMUTNB: International Journal of Applied Science and Technology. Vol. 8 (2):145-151. DOI:10.14416/j.ijast.2015.02.002. (ฐานข้อมูล TCI1 / Coauthor) Sriwiang Tipkanon, Ratchanee Charoen, Wanticha Savedboworn and Ahmed Moursy Abdallah. 2015. Hydrolysis Optimization of Isoflavone Conversion in Soy Germ (Chiang Mai 60) Using Response Surface Methodology (RSM). KMUTNB: International Journal of Applied Science and Technology. Vol. 8 (2): 127-135. DOI:10.14416/j.ijast.2015.02.001. (ฐานข้อมูล TCI1 / Coauthor) Wanticha Savedboworn, Wiboon Riansa-ngawong, Warinyaporn Sinlapacharoen, Sirinun Pajakang, Bensiya Patcharajarukit and Sriwiang Tipkanon. 2014. Assessment of Probiotic Properties in Lactic Acid Bacteria Isolated from Fermented Vegetables. KMUTNB International Journal of Applied Science and Technology, Vol.7 (4): 53-65. DOI:10.14416/j.ijast.2014.10.001. (ฐานข้อมูล TCI1 / First author และ Corresponding author) Wanticha Savedboworn, Ratchanee Charoen and Kriangkrai Phattayakorn. 2014. Growth and Survival Rates of Lactobacillus plantarum in Thai Cereal Cultivars. KMUTNB International Journal of Applied Science and Technology, Vol.7 (3): 49-61. DOI: 10.14416/j.ijast.2014.07.005. (ฐานข้อมูล TCI1 / First author และ Corresponding author) Lapsiri, W., Bhandari B. and P. Wanchaitanawong. 2013. Stability and Probiotic Properties of Lactobacillus plantarum Spray-Dried with Protein and Other Protectants. Drying Technology: An International Journal. 31 (13-14): 1723-1733. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author และ Corresponding author) Lapsiri, W., Bhandari B. and P. Wanchaitanawong. 2012. Viability of Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in different protectants during spray drying and storage. Drying Technology: An International Journal. 30(13): 1407-1412. (ฐานข้อมูล ISI: SCIE และ SCOPUS / First author และ Corresponding author) Lapsiri, W. and P. Wanchaitanawong. 2012. Protective effects of soybean, sesame and Job’s Tears on the survival of fermented vegetable Lactobacillus plantarum under gastrointestinal tract conditions. African Journal of Microbiology Research. 6(14): 3380-3389. (ฐานข้อมูล ISI ปี 2012 / First author และ Corresponding author) Lapsiri, W., S. Nitisinprasert and P. Wanchaitanawong. 2011. Lactobacillus plantarum Strains from Fermented vegetables as potential probiotics. Kasetsart Journal (Natural Science) 45: 1071-1082. (ฐานข้อมูล SCOPUS / First author และ Corresponding author)
วารสารตีพิมพ์ระดับชาติ สุนีย์ เอียดมุสิก, ไอลดา เตชะศรี และวรรณทิชา เศวตบวร. 2565. กรณีศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการบรรจุเนื้อปลาทูน่าแช่แข็ง (A Case Study to Increase Packing Efficiency of Frozen Tuna Loin). วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 32(4) ตุลาคม-ธันวาคม 2565: 946-956. ศุภกิตต์ เบญจพิพิธ, เพ็ญนภา แก้วจำปา, อรัญญา พรหมกูล, วรรณทิชา เศวตบวร และเกรียงไกร พัทยากร. 2563. การศึกษาสภาวะการบ่มของใบหม่อนต่อกิจกรรมการต้านอนุมูลอิสระ. วารสารแก่นเกษตร. 48(ฉบับพิเศษ): 1053-1058. วิจิตรา แสวงโคตร, อรัญญา พรหมกูล, วรรณทิชา เศวตบวร และเกรียงไกร พัทยากร. 2561. การวิเคราะห์ปริมาณสารฟีนอลิคและสารต้านอนุมูลอิสระในใบหม่อน 2 สายพันธุ์. วารสารแก่นเกษตร. 46(ฉบับพิเศษ): 359-362. เกรียงไกร พัทยากร, อรัญญา พรหมกูล และ วรรณทิชา เศวตบวร. 2559. ผลของการใช้ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์และโซเดียมไฮโปคลอไรท์ในการลดปริมาณเชื้อ Escherichia coli และ Salmonella typhimurium ในต้นอ่อนทานตะวัน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 47(2)(พิเศษ): 265-268. เกรียงไกร พัทยากร, อรัญญา พรหมกูล และ วรรณทิชา เศวตบวร. 2558. คุณลักษณะของแบคทีเรียวุ้นสวรรค์ที่ผลิตได้จากแก้วมังกร. วารสารแก่นเกษตร. 43 ฉบับพิเศษ 1: 917-921. วรรณทิชา ลาภศิริ และศรีเวียง ทิพกานนท์. 2549. การสำรวจความคิดเห็นและพฤติกรรมการบริโภคกระยา สารทในจังหวัดปราจีนบุรี. วารสารเกษตรนเรศวร. 10(1) ตุลาคม 2549-มีนาคม 2550: 177-185. ศรีเวียง ทิพกานนท์ และวรรณทิชา ลาภศิริ. 2549. พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์น้ำพริกในจังหวัด ปราจีนบุรี. วารสารเกษตรนเรศวร. 10(1) ตุลาคม 2549-มีนาคม 2550: 249-259. |
Presentation |
Kriangkrai Phattayakorn, Pawinee Pajanyor, Suwajee Wongtecha, Arunya Prommakool and Wanticha Savedboworn. Effect of Germination on Total Phenolic Content and Antioxidant Properties of “Hang” Rice. (postal presentation). The 2nd International Conference on Agriculture and Agro-Industry 2014 (Fresh Produce, Novel Process and Health Product). November 20-21, 2014. Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand. |
Wanticha Savedboworn and Wiboon Riansa-ngawong. 2014. Viability of Probiotic Lactic Acid Bacteria in Fermented Cereal Extracts. (postal presentation). 16th FOOD INNOVATION ASIA 2014 “Science and Innovation for Quality of Life” 12-13 June, 2014. BITEC, Bangkok, Thailand. | |
Sureeporn Niyomrat, Janyawan Satsue, Neeranuch Thukthai, Yossawadee Jumpakeaw, Kriangkrai Phattayakorn and Wanticha Savedboworn. 2014. Viability of Probiotic Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in Fermented Plai Ngahm Prachin Buri Rice Extract Supplemented with Inulin. (postal presentation). 16th FOOD INNOVATION ASIA 2014 “Science and Innovation for Quality of Life” 12-13 June, 2014. BITEC, Bangkok, Thailand. | |
Wiboon Riansa-ngawong, Wanticha Savedboworn and Maneewan Suwansaard. 2014. Optimization of Hydrogen Production from Pickle Bamboo Shoot Wastewater by Rhodopseudomonas palustris TN1. 16th FOOD INNOVATION ASIA 2014 “Science and Innovation for Quality of Life” 12-13 June, 2014. BITEC, Bangkok, Thailand. | |
Wanticha Lapsiri and Penkhae Wanchaitanawong. 2013. Viability of probiotic Lactobacillus plantarum TISTR 2075 in fermented cereal extracts after spray drying. (postal presentation). The 15th Food Innovation Asia Conference 2013 “Empowering SMEs through Science and Technology” June 13-14, 2013. BITEC, Bangkok, Thailand. | |
Kriangkrai Phattayakhon, Quntida Chaiyasut, Watsana Odton and Wanticha Lapsiri. 2013. Production of rice wine from parboiled rice and germinated rice. (postal presentation). Fervaap. The 5th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products. August 21st-23rd, 2013. Centara Hotel & Convention Centre, Khon Kaen, Thailand. | |
Wanticha Lapsiri, Penkhae Wanchaitanawong and Bhesh R. Bhandari. 2011. Effect of Various Carriers on the Survival of Lactobacillus plantarum PKWB7-2 during Spray Drying and Storage. (postal presentation). Australian Food Science Summer School 2011. February 9-11, 2011. St. Leo’s College, University of Queensland. St. Lucia, Brisbane, Queensland. Australia. | |
Wanticha Lapsiri. Spray Drying and Storage Stability of Lactobacillus plantarum KMITNB 53.4. The Proceeding of 47th Kasetsart University Annual Conference (Agro-Industry Session). March 17-20, 2009. p. 184-191. | |
Wanticha Lapsiri and Penkhae Wanchaitanawong. 2009. Influence of soybean, sesame and Job’s Tears on the viability of Lactobacillus plantarum under simulated gastrointestinal tract conditions. (postal presentation). The 5th Asian Conference on Lactic Acid Bacteria: Microbes in Disease Prevention & Treatment. 1st – 3rd July 2009. National University of Singapore, Singapore.
Patchanok Apiwattanasiri and Wanticha Savedboworn. 2021. Effect of protein and prebiotics on the survival of encapsulated probiotic during storage. Research, Invention, and Innovation Congress (RI2C 2021) : A virtual Conference. September 1-2, 2021. (Oral presentation in Innovative Sustainable Sciences (ISS)). Ratchanee Charoen, Sriwiang Rittisak and Wanticha Savedboworn. 2020. Structure formation and the properties of alginate-wheat protein-based as meat analogues. International conference on Maritime studies and marine Innovation 2020: Maritime studies & marine innovation: Towards a sustainable ocean. December 11, 2020. Phanat Kittiphattanabawon, Boonyarat Ja-Ngam, Premruedee Issarapong and Wanticha Savedboworn. 2019. Antioxidant activity of Noni (Morinda citrifolia L.) leaf extract. Food Innovation Asia Conference: Future Food Innovation for Better Health and Wellness. June 13-15, 2019, Bitec, Bangkok, Thailand. (Postal presentation). Kriangkrai Phattayakorn, Arunya Prommakool and Wanticha Savedboworn. Efficacy of organic acids and hot water treatment to inactive E. coli inoculated on sunflower sprouts. The 3th International Conference on Agriculture and Agro-Industry ICAAI2018: Food and Agriculture: Innovation and Sustainability. November 15-17, 2018. Mae Fah Luang University. Chiang Rai, Thailand. Wanticha Savedboworn, Kotchakorn Teawsomboonkit, Supanida Surichay, Wiboon Riansa-ngawong, Sriwiang Tipkanon and Kriangkrai Phattayakorn. Impact of rice protein and prebiotics as protectants on the survival of freeze-dried probiotic Lactobacillus plantarum. The 29th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference TSB 2017: Frontiers in Applied Biotechnology. November 23-25, 2017. Swissôtel Le Concorde, Bangkok, Thailand. Wiboon Riansa-ngawong, Phithak Phanuthat, Natchapan Thanakittisaed and Wanticha Savedboworn. 2017. Reduction of electricity cost of hydrogen production by Pseudomonas palustris TN1 using a covered-light structure. The 7th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products. 25-28 July 2017. Pullman Khon Kaen Raja Orchid Hotel. Khon Kaen, Thailand. Wanticha Savedboworn, Jutamas Chaipin, Phattarasaya Thanyajaroen and Kriangkrai Phattayakorn. 2017. Influence of Protective Agents on the Viability of Freeze Dried Probiotic Lactobacillus plantarum. The 19th Food Innovation Asia Conference 2017 (FIAC 2017). Innovative Food Science and Technology for Mankind: Empowering Research for Health and Aging Society. 15-17 June 2017, Bitec, Bangkok, Thailand. (Postal Presentation). Wanticha Savedboworn, Siriphan Pearnpitakgul, Pornpimon Sittiyotin and Kriangkrai Phattayakorn. 2016. Effect of Prebiotics as Protectants on the Survival of Probiotic Lactobacillus plantarum TISTR 2075 during Freeze Drying and Subsequent Storage. The 18th Food Innovation Asia Conference 2016. Food Research and Innovation for Sustainable Global Prosperity. 16-18 June 2016, Bitec, Bangkok, Thailand. (Postal Presentation). Ratchanee Charoen, Sujittra Thammasawat, Supawan Lamkham, Sriwiang Tipkanon and Wanticha Savedboworn. 2016. The Product Development of Pork Meat Ball Substituted with Rice Bran Protein Extracted. Food Research and Innovation for Sustainable Global prosperity. 16-18 June 2016, Bitec, Bangkok, Thailand. (Postal presentation). Charoen , R., Saneewong-Na Ayuttaya, W., Ngamngon, W., Tipkanon, S. and Savedboworn, W. 2016. Sorption Isotherm Study of Preserved Wild Mangosteen (Kra-Thon Yhee) with Replacing Humectants. International Conference on Food and Applied Bioscience. February 4-5 at The Empress Hotels Chiang Mai, Chiang Mai. (Postal presentation). |
|
National Conference |
ชลธิชา กุณะ, ทวีรัตน์ แซ่ตั๋น, พรศิริ นาถาพันธ์, จันทิมา ภูงามเงิน และวรรณทิชา เศวตบวร. (กรกฎาคม 2564). การเพิ่มผลิตภาพขั้นตอนการบรรจุของผลิตภัณฑ์ปูหิมะเทียม. The 5th Consortium of Cooperative Education in Agro-Industry and Management 2021 (COCEAM 2021), July 8-9, 2021. Thailand.
ณัฐธิดา โสแสง , พีรพัฒน์ ศิรวัฒนากุล,จริยา คงเพชร ,ศศิวิมล ตับกลาง, วรรณทิชา เศวตบวร, และจันทิมา ภูงามเงิน (กรกฎาคม 2564). การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการสุ่ม: กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ในภาชนะบรรจุแบบอ่อนตัว ณ จุดรับวัตถุดิบและจุดพักสินค้า. The 5th Consortium of Cooperative Education in Agro-Industry and Management 2021 (COCEAM 2021), July 8-9, 2021. Thailand. รสริน ขุนสุวรรณ์, พีรพัฒน์ ศิรวัฒนากุล, ศศิวิมล ตับกลาง, จันทิมา ภูงามเงิน และวรรณทิชา เศวตบวร. (กรกฎาคม 2564). การประยุกต์ใช้เทคนิค DMAIC เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของพนักงานฝ่ายบรรจุเพาซ์อาหารแมว. (2564) The 5th Consortium of Cooperative Education in Agro-Industry and Management 2021 (COCEAM 2021), July 8-9, 2021. จิตรา เขื่อนขันธ์, ทวีรัตน์ แซ่ตั๋น, วรรณทิชา เศวตบวร และจันทิมา ภูงามเงิน. 2562. การศึกษาการลดน้ำหนักของบรรจุภัณฑ์ที่เกินมาตรฐานในสินค้าปูหิมะเทียม. การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อนำเสนอผลงานสหกิจศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (The Consortium of Cooperative education in Agro-Industry and Management 2019). 4-5 กรกฎาคม 2562. ณ โรงแรมจันทรารีสอร์ท จังหวัดนครนายก. (Oral presentation) ฉัตรเกษตร ไทรงาม, พีรพัฒน์ ศิรวัฒนากุล, วรรณทิชา เศวตบวร และจันทิมา ภูงามเงิน. 2562. การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์เพาซ์. การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อนำเสนอผลงานสหกิจศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (The Consortium of Cooperative education in Agro-Industry and Management 2019). 4-5 กรกฎาคม 2562. ณ โรงแรมจันทรารีสอร์ท จังหวัดนครนายก. (Postal presentation) ทนิตา ทนะขว้าง, ทวีรัตน์ แซ่ตั๋น, วงษ์ศักดิ์ รอดสการ, จันทิมา ภูงามเงิน และวรรณทิชา เศวตบวร. 2562 การประยุกต์ใช้เทคนิค DMAIC เพื่อลดน้ำหนักบรรจุเกินมาตรฐานของผลิตภัณฑ์จากซูริมิ. การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อนำเสนอผลงานสหกิจศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (The Consortium of Cooperative education in Agro-Industry and Management 2019). 4-5 กรกฎาคม 2562. ณ โรงแรมจันทรารีสอร์ท จังหวัดนครนายก. (Postal presentation) กษิดิ์เดช เมฆกระจ่าง, พีรพัฒน์ ศิรวัฒนากุล, จันทิมา ภูงามเงิน และวรรณทิชา เศวตบวร. 2562. การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่ายเพื่อทำนายการเปลี่ยนแปลงสีของผลิตภัณฑ์ทูน่าสายพันธุ์ครีบยาว. การประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อนำเสนอผลงานสหกิจศึกษาสาขาอุตสาหกรรมเกษตรและการจัดการ (The Consortium of Cooperative education in Agro-Industry and Management 2019). 4-5 กรกฎาคม 2562. ณ โรงแรมจันทรารีสอร์ท จังหวัดนครนายก. (Postal presentation) เกรียงไกร พัทยากร และวรรณทิชา เศวตบวร. 2559. ผลของการใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และโซเดียมไฮไฮโปคลอไรท์ในการลดปริมาณเชื้อ Escherichia coli และ Salmonella typhimurium ในต้นอ่อนทานตะวัน. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 10 “Agricultural Innovation and Sustainable in Thailand” วันที่ 28-29 กรกฎาคม 2559 ณ โรงแรม ดิ เอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ |
Training Courses and Others |
บริการวิชาการโดยเป็นนักวิจัยโครงการจ้างที่ปรึกษาสร้างไซโลระบบปิดที่อำเภอ
พระพุทธบาท จ.สระบุรี ได้รับทุนสนับสนุนจากองค์การคลังสินค้ากระทรวงพาณิชย์ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง กุมภาพันธ์ 2557 ปริมาณเวลาที่ใช้ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 3 เดือน |
วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทำซาลาเปา. บรรยายในหัวข้อ อาหารปลอดภัย (Food Safety). วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม 2548. คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี. ปริมาณเวลาที่ใช้ 2 ชั่วโมง. | |
วิทยากรอบรมทางวิชาการ เรื่อง GMP ในอุตสาหกรรมอาหาร วันที่ 14 พฤษภาคม 2547. คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี ปริมาณเวลาที่ใช้ 3 ชั่วโมง | |
วิทยากรอบรมทางวิชาการ เรื่อง Food Safety, GAP, GMP สำหรับผลิตภัณฑ์ผัก ผลไม้แปรรูป. บรรยายในหัวข้อ หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารแปรรูป (Good Manufacturing Practice, GMP ) ผักและผลไม้แปรรูป วันศุกร์ที่ 22 เมษายน 2548. คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคiเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี. ปริมาณเวลาที่ใช้ 3 ชั่วโมง
วิทยากรบรรยาย เรื่อง การปนเปื้อนจุลินทรีย์ในนมและการจัดการระหว่างการเก็บรักษา (ตอนที่ 5) วิชาเทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์นม สำหรับการผลิตสื่อ e-Learning ในโครงการพัฒนาครูฝึกช่างเทคนิคขั้นสูงตามแนวทางมาตรฐานเยอรมัน วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09.00-10.30 น. (1.5 ชั่วโมง) ณ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไทย-เยอรมัน TGDE มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยากรบรรยาย เรื่อง ผลิตภัณฑ์นม โยเกิร์ต นมเปรี้ยว และเนยแข็ง (ตอนที่ 12) วิชาเทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์นม สำหรับการผลิตสื่อ e-Learning ในโครงการพัฒนาครูฝึกช่างเทคนิคขั้นสูงตามแนวทางมาตรฐานเยอรมัน วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 เวลา 10.30-12.00 น. (1.5 ชั่วโมง) ณ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไทย-เยอรมัน TGDE มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยากรบรรยายในโครงการบริการวิชาการ “อบรม บรรยายพิเศษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้: ความรู้ด้านมาตรฐาน GMP และกระบวนการแปรรูปอาหารกระป๋อง เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต” ในหัวข้อเรื่อง Principles of Food Safety: Good Manufacturing Practice. วันที่ 9-10 กรกฎาคม 2561 ณ บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร. วิทยากรบรรยาย เรื่อง มาตรฐานอาหาร GMP ฉบับที่ 420 (พ.ศ. 2563) เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร. อบรมออนไลน์ผ่านกลุ่มปิด YouTube. วันที่ 28 มีนาคม – 30 พฤษภาคม 2566. วิทยากรบรรยาย เรื่อง การปนเปื้อนจุลินทรีย์ในนมและการจัดการระหว่างการเก็บรักษา (ตอนที่ 5) วิชาเทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์นม สำหรับการผลิตสื่อ e-Learning ในโครงการพัฒนาครูฝึกช่างเทคนิคขั้นสูงตามแนวทางมาตรฐานเยอรมัน วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 เวลา 09.00-10.30 น. (1.5 ชั่วโมง) ณ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไทย-เยอรมัน TGDE มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยากรบรรยาย เรื่อง ผลิตภัณฑ์นม โยเกิร์ต นมเปรี้ยว และเนยแข็ง (ตอนที่ 12) วิชาเทคโนโลยีนมและผลิตภัณฑ์นม สำหรับการผลิตสื่อ e-Learning ในโครงการพัฒนาครูฝึกช่างเทคนิคขั้นสูงตามแนวทางมาตรฐานเยอรมัน วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562 เวลา 10.30-12.00 น. (1.5 ชั่วโมง) ณ สถาบันสหกิจศึกษาและพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไทย-เยอรมัน TGDE มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยากรบรรยายในโครงการบริการวิชาการ “อบรม บรรยายพิเศษ แลกเปลี่ยนเรียนรู้: ความรู้ด้านมาตรฐาน GMP และกระบวนการแปรรูปอาหารกระป๋อง เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต” ในหัวข้อเรื่อง Principles of Food Safety: Good Manufacturing Practice. วันที่ 9-10 กรกฎาคม 2561 ณ บริษัทไทยรวมสินพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร. |
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
นางวรรณทิชา เศวตบวร, นางสาวจุฑามาศ งามสง่า, นางสาวกมลวรรณ สมบูรณ์ศิริ, นางสาวศุภธิดา จันทรคูณ. อนุสิทธิบัตร : สูตรพุดดิ้งกรอบข้าวไรซ์เบอรี่เสริมโปรไบโอติกที่ถูกห่อหุ้ม. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 16892. วันที่จดทะเบียน 30 ตุลาคม 2563.
นางวรรณทิชา เศวตบวร, นางสาวณัชชา มูลากูล และนางสาวพิมลนาฎ สีวันนา. อนุสิทธิบัตร : สูตรไอศกรีมซินไบโอติกและกรรมวิธีการผลิต. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 10370. วันที่จดทะเบียน 6 กันยายน 2560
นางวรรณทิชา เศวตบวร อนุสิทธิบัตร: สูตรน้ำนมอัลมอนด์งาดำเสริมซินไบโอติกและกรรมวิธีการผลิต. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 13063. วันที่จดทะเบียน 6 กันยายน 2560
นางวรรณทิชา เศวตบวร, ณัฐกานต์ สมอารมณ์ และศุภลักษณ์ คงเขียน. อนุสิทธิบัตร : สูตรน้ำนมอัลมอนด์ผสมโปรไบโอติกและกรรมวิธีการผลิต. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 12329. วันที่จดทะเบียน 19 มกราคม 2559.
นางวรรณทิชา เศวตบวร. อนุสิทธิบัตร : สูตรส่วนผสมเครื่องดื่มน้ำลูกเดือยผสมจุลินทรีย์โปรไบโอติกและ กรรมวิธีการผลิต. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 11060. วันที่จดทะเบียน 21 มกราคม 2559.
นางสาวจรรยาวรรณ สัตย์ซื่อ, นางสาวสุรีย์พร นิยมรัตน์ นางสาวณีรนุช ถึกไทย, นางสาวยศวดี จำปาแก้ว, นางวรรณทิชา เศวตบวร. อนุสิทธิบัตร : สูตรเครื่องดื่มน้ำถั่วขาวผสมโปรไบโอติกและกรรมวิธีการผลิต. เลขที่อนุสิทธิบัตร: 10141. วันที่จดทะเบียน 28 กรกฎาคม 2558.